สถิติการขายรถยนต์ ยอดขายรถ ตลาดรถยนต์ไทย ปี 2564

สถิติการขายรถยนต์ประจำเดือนมีนาคม 2564 มียอดการขายรวมทั้งสิ้น 79,969 คัน เพิ่มขึ้น 25.6% ประกอบด้วย รถยนต์นั่ง 30,183 คัน เพิ่มขึ้น 24.7% รถยนต์เพื่อการพาณิชย์ 49,786 คัน เพิ่มขึ้น 26.1% ขณะที่ รถกระบะขนาด 1 ตัน ในเซกเมนท์นี้ มีจำนวน 38,106 คัน เพิ่มขึ้น 25.8%

ผลกระทบของการแพร่ระบาดของไวรัส Covid-19 (โควิด-19) ที่ยังคงส่งผลกระทบโดยตรงต่อเศรษฐกิจโดยรวม และตลาดรถยนต์ เนื่องจากความเชื่อมั่นผู้บริโภคยังไม่ฟื้นตัว ส่งผลให้ลูกค้าชะลอการตัดสินใจซื้อ ยังเป็นปัจจัยลบต่อเศรษฐกิจไทยโดยรวม

Mercedes-Benz-C300e-2021

แต่ด้วยมารตรการต่างๆ จากภาครัฐในการช่วยเหลือประชาชน และกระตุ้นเศรษฐกิจอย่างเต็มที่ รวมถึงการผ่อนคลายมาตรการ Lockdown เพิ่มเติม และที่สำคัญตลาดรถยนต์ในเดือนนี้ ได้รับปัจจัยบวกจากข้อเสนอพิเศษ และกิจกรรมส่งเสริมการขายของค่ายรถยนต์ในงาน Motor Show 2021 ที่เพิ่งจบสิ้นลง มีส่วนกระตุ้นการตัดสินใจซื้อ ส่งผลให้ยอดขายโดยรวมในเดือนมีนาคม ปรับตัวดีขึ้นเมื่อเทียบช่วงเวลาเดียวกันของปีที่ผ่านมา และกลับมาเติบโตเป็นครั้งแรกในรอบปี

ตลาดรถยนต์ในเดือนเมษายนเป็นที่น่าจับตามอง เนื่องจากการระบาดของไวรัส COVID 19 ระลอกใหม่ มีความรุนแรงกว่าระลอกที่ผ่านมา ส่งผลต่อความเชื่อมั่นของผู้บริโภคที่มีต่อเศรษฐกิจโดยรวม รวมทั้งอารมณ์ในการซื้อของลูกค้าลดลง

Motorshow-2021-Sightseeing

แต่ปัจจัยจากมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจของภาครัฐที่ยังคงดำเนินอยู่ เช่น โครงการ “เราชนะ” และ “ม33 เรารักกัน” ช่วยบรรเทาความเดือดร้อนให้ประชาชนได้บ้าง โดยยังคงมีแรงส่งจากการนำเสนอแคมเปญ “เงื่อนไขเดียวกับมอเตอร์โชว์” ของค่ายรถยนต์ และการทยอยส่งมอบรถยนต์ที่จองในงานมอเตอร์โชว์ ที่ยังพยุงยอดขายรถยนต์ให้เดินหน้าต่อไปได้

ปริมาณการจำหน่ายรถยนต์ เดือนมีนาคม 2564

1. ตลาดรถยนต์รวม ปริมาณการขาย 79,969 คัน เพิ่มขึ้น 25.6%

อันดับที่ 1 โตโยต้า 22,276 คัน เพิ่มขึ้น 28.5% ส่วนแบ่งตลาด 27.9%
อันดับที่ 2 อีซูซุ 17,523 คัน เพิ่มขึ้น 28.6% ส่วนแบ่งตลาด 21.9%
อันดับที่ 3 ฮอนด้า 10,295 คัน เพิ่มขึ้น 37.2% ส่วนแบ่งตลาด 12.9%

2. ตลาดรถยนต์นั่ง ปริมาณการขาย 30,183 คัน เพิ่มขึ้น 24.7%

อันดับที่ 1 ฮอนด้า 8,953 คัน เพิ่มขึ้น 47.5% ส่วนแบ่งตลาด 29.7%
อันดับที่ 2 โตโยต้า 5,380 คัน ลดลง 0.5% ส่วนแบ่งตลาด 17.8%
อันดับที่ 3 มาสด้า 2,785 คัน เพิ่มขึ้น 28.9% ส่วนแบ่งตลาด 9.2%

3. ตลาดรถเพื่อการพาณิชย์ ปริมาณการขาย 49,786 คัน เพิ่มขึ้น 26.1%

อันดับที่ 1 อีซูซุ 17,523 คัน เพิ่มขึ้น 28.6% ส่วนแบ่งตลาด 35.2%
อันดับที่ 2 โตโยต้า 16,896 คัน เพิ่มขึ้น 41.7% ส่วนแบ่งตลาด 33.9%
อันดับที่ 3 ฟอร์ด 3,199 คัน เพิ่มขึ้น 45.0% ส่วนแบ่งตลาด 6.4%

4. ตลาดรถกระบะขนาด 1 ตัน  (Pure Pick up และ รถกระบะดัดแปลง PPV*) ปริมาณการขาย 38,160 คัน เพิ่มขึ้น 25.8%

อันดับที่ 1 อีซูซุ 15,801 คัน เพิ่มขึ้น 25.1% ส่วนแบ่งตลาด 41.5%
อันดับที่ 2 โตโยต้า 14,443 คัน เพิ่มขึ้น 39.6% ส่วนแบ่งตลาด 37.9%
อันดับที่ 3 ฟอร์ด 3,199 คัน เพิ่มขึ้น 45.0% ส่วนแบ่งตลาด  8.4%

*ปริมาณการขายรถกระบะดัดแปลง (ในตลาดรถกระบะขนาด 1 ตัน) 5,850 คัน
โตโยต้า 2,588 คัน – อีซูซุ 1,892 คัน – มิตซูบิชิ 914 คัน – ฟอร์ด 433  คัน – นิสสัน 23 คัน

5. ตลาดรถกระบะ Pure Pick up ปริมาณการขาย 32,256 คัน เพิ่มขึ้น 18.5%

อันดับที่ 1 อีซูซุ 13,909 คัน เพิ่มขึ้น 16.0% ส่วนแบ่งตลาด 43.1%
อันดับที่ 2 โตโยต้า 11,855 คัน เพิ่มขึ้น 26.3% ส่วนแบ่งตลาด 36.8%
อันดับที่ 3 ฟอร์ด 2,766 คัน เพิ่มขึ้น 54.8% ส่วนแบ่งตลาด 8.6%

สถิติการจำหน่ายรถยนต์ เดือนมกราคม – มีนาคม 2564

1. ตลาดรถยนต์รวม ปริมาณการขาย 194,137 คัน ลดลง 3%

อันดับที่ 1 โตโยต้า
55,931 คัน ลดลง 0.4% ส่วนแบ่งตลาด 28.8%
อันดับที่ 2 อีซูซุ 49,248 คัน เพิ่มขึ้น 16.2% ส่วนแบ่งตลาด 25.4%
อันดับที่ 3 ฮอนด้า
24,959 คัน ลดลง 13.7% ส่วนแบ่งตลาด 12.9%

2. ตลาดรถยนต์นั่ง ปริมาณการขาย 65,256 คัน ลดลง 16.7%

อันดับที่ 1 ฮอนด้า 21,347 คัน ลดลง 10.9% ส่วนแบ่งตลาด 32.7%
อันดับที่ 2 โตโยต้า
14,509 คัน ลดลง 22.2% ส่วนแบ่งตลาด 22.2%
อันดับที่ 3 มาสด้า 6,390 คัน ลดลง 16.8% ส่วนแบ่งตลาด 9.8%

3. ตลาดรถเพื่อการพาณิชย์ ปริมาณการขาย 128,881 คัน เพิ่มขึ้น 5.5%

อันดับที่ 1 อีซูซุ 49,248 คัน เพิ่มขึ้น 16.2% ส่วนแบ่งตลาด 38.2%
อันดับที่ 2 โตโยต้า
41,422 คัน เพิ่มขึ้น 10.5% ส่วนแบ่งตลาด 32.1%
อันดับที่ 3 ฟอร์ด 8,096 คัน เพิ่มขึ้น 12.4% ส่วนแบ่งตลาด 6.3%

4. ตลาดรถกระบะขนาด 1 ตัน  (Pure Pick up และ รถกระบะดัดแปลง PPV*) ปริมาณการขาย 99,382 คัน เพิ่มขึ้น 2.5%

อันดับที่ 1 อีซูซุ
45,399 คัน เพิ่มขึ้น 14.6% ส่วนแบ่งตลาด 45.7%
อันดับที่ 2 โตโยต้า
34,718 คัน เพิ่มขึ้น 6.1% ส่วนแบ่งตลาด 34.9%
อันดับที่ 3 ฟอร์ด 8,096 คัน เพิ่มขึ้น 12.4% ส่วนแบ่งตลาด 8.1%

*ปริมาณการขายรถกระบะดัดแปลง (ในตลาดรถกระบะขนาด 1 ตัน) 14,944 คัน
โตโยต้า 6,502 คัน – อีซูซุ 5,177 คัน – มิตซูบิชิ 1,967 คัน – ฟอร์ด 1,249 คัน – นิสสัน 49 คัน

5. ตลาดรถกระบะ Pure Pick up ปริมาณการขาย 84,438 คัน ลดลง 3.1%

อันดับที่ 1 อีซูซุ
40,222 คัน เพิ่มขึ้น 6.2% ส่วนแบ่งตลาด 47.6%
อันดับที่ 2 โตโยต้า
28,216 คัน ลดลง 4.1% ส่วนแบ่งตลาด 33.4%
อันดับที่ 3 ฟอร์ด 6,847 คัน เพิ่มขึ้น 16.0% ส่วนแบ่งตลาด 8.1%

ส่วนถ้าใครตอนนี้อยากขายรถคันเดิม แล้วไปซื้อรถป้ายแดงมาใช้ มาขายรถกับ CARRO Express สิ! ได้ราคาดี พร้อมปิดการขายภายใน 24 ชั่วโมง! หรือจะ Inbox มาขอรายละเอียดได้ที่ Facebook -> CARRO Thailand และ Add Line สอบถามรายละเอียดได้เช่นกัน ที่ @carrothai

และอีกหนึ่งบริการใหม่! CARRO Automall แหล่งรวมรถมือสองคุณภาพเยี่ยม ผ่านการตรวจสภาพแบบ Double Check รับประกันพร้อมโอนทุกคัน ฟรี! ค่าจัดโอน มีให้เลือกชมเพียบ เปิดบริการทุกวัน อยากซื้อรถคุณภาพเยี่ยม มาซื้อกับ CARRO Automall สิ!

หรือสนใจรถรุ่นไหนอยู่ แต่หาไม่ได้ สามารถสั่งตามออเดอร์ได้ที่นี้ > https://th.carro.co/buy-car หรือโทร. 02-508-8690 อีกทั้งยัง Inbox เข้ามาสอบถามก็ได้เช่นกันได้ที่ Facebook -> CARRO Automall – รถบ้านมือสอง หรือทาง Line เชิญเลยครับที่ @carroautomall

แหล่งที่มาจาก:

สถิติการขายรถยนต์ ยอดขายรถ ตลาดรถยนต์ไทย ปี 2564

สถิติการขายรถยนต์ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2564 มียอดการขายรวมทั้งสิ้น 58,960 คัน ลดลง 10.9% เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีที่ผ่านมา ประกอบด้วย รถยนต์นั่ง 18,969 คัน ลดลง 25% รถยนต์เพื่อการพาณิชย์ 39,991 คัน ลดลง 2.3% ขณะที่ รถกระบะขนาด 1 ตัน ในเซกเมนท์นี้ มีจำนวน 31,169 คัน ลดลง 6.6%

สืบเนื่องจากผลกระทบของการแพร่ระบาดของไวรัส Covid-19 (โควิด-19) ที่ยังคงส่งผลกระทบโดยตรงต่อเศรษฐกิจโดยรวม และตลาดรถยนต์ เนื่องจากความเชื่อมั่นผู้บริโภคยังไม่ฟื้นตัว ส่งผลให้ลูกค้าชะลอการตัดสินใจซื้อ

Great-Wall-Motor-Motorshow-2021

ตลาดรถยนต์ในเดือนมีนาคมมีแนวโน้มที่ขยับตัวดีขึ้น ถึงแม้ว่าการระบาดของไวรัส Covid-19 (โควิด-19) ยังมีอยู่อย่างต่อเนื่อง ยังส่งผลกระทบต่อหลายภาคส่วน อย่างไรก็ดี โครงการ “คนละครึ่ง” “เราเที่ยวด้วยกัน” “ช้อปดีมีคืน” “เราชนะ” และล่าสุดกับ “ม33 เรารักกัน” ของรัฐบาล ส่งผลในการกระตุ้นเศรษฐกิจภายในประเทศ

ตลอดจนการผ่อนคลายมาตรการ Lockdown เพิ่มเติม ช่วยให้เศรษฐกิจในประเทศฟื้นตัวดีขึ้น โดยตลาดรถยนต์ เริ่มกลับมาคึกคักขึ้นอีกครั้ง ไม่ว่าจะเป็นการเปิดตัวรถใหม่ การปรับโฉมใหม่ การนำเสนอรถยนต์รุ่นพิเศษ (Limited Edition) รวมถึงข้อเสนอพิเศษ

และกิจกรรมส่งเสริมการขายของค่ายรถยนต์ เพื่อปูทางสู่งาน Motor Show 2021 (งานมอเตอร์โชว์ 2021) ภายใต้การสื่อสารการตลาด “เงื่อนไขเดียวกับมอเตอร์โชว์” มีแนวโน้มผลักดันตลาดรถยนต์เดือนมีนาคม เติบโตต่อเนื่องถึงเดือนเมษายน …

Toyota-Fortuner-2021

ปริมาณการจำหน่ายรถยนต์ เดือนกุมภาพันธ์ 2564

1. ตลาดรถยนต์รวม ปริมาณการขาย 58,960 คัน ลดลง 10.9%

อันดับที่ 1 อีซูซุ 16,477 คัน เพิ่มขึ้น 13.8% ส่วนแบ่งตลาด 27.9%
อันดับที่ 2 โตโยต้า 15,897 คัน ลดลง 14.6% ส่วนแบ่งตลาด 27.0%
อันดับที่ 3 ฮอนด้า 9,007 คัน ลดลง 7.7% ส่วนแบ่งตลาด 15.3%

2. ตลาดรถยนต์นั่ง ปริมาณการขาย 18,969 คัน ลดลง 25%

อันดับที่ 1 ฮอนด้า 7,868 คัน ลดลง 6.4% ส่วนแบ่งตลาด 41.5%
อันดับที่ 2 โตโยต้า 4,056 คัน ลดลง 36.3% ส่วนแบ่งตลาด 21.4%
อันดับที่ 3 มาสด้า 1,826 คัน ลดลง 22.4% ส่วนแบ่งตลาด 9.6%

3. ตลาดรถเพื่อการพาณิชย์ ปริมาณการขาย 39,991 คัน ลดลง 2.3%

อันดับที่ 1 อีซูซุ 16,477 คัน เพิ่มขึ้น 13.8% ส่วนแบ่งตลาด 41.2%
อันดับที่ 2 โตโยต้า 11,826 คัน ลดลง 3.4% ส่วนแบ่งตลาด 29.6%
อันดับที่ 3 ฟอร์ด 2,592 คัน ลดลง 9.4% ส่วนแบ่งตลาด  6.5%

4. ตลาดรถกระบะขนาด 1 ตัน  (Pure Pick up และ รถกระบะดัดแปลง PPV*) ปริมาณการขาย 31,169 คัน ลดลง 6.6%

อันดับที่ 1 อีซูซุ 15,400 คัน เพิ่มขึ้น 13.2% ส่วนแบ่งตลาด 49.4%
อันดับที่ 2 โตโยต้า 9,781 คัน ลดลง 7.7% ส่วนแบ่งตลาด 31.4%
อันดับที่ 3 ฟอร์ด 2,592 คัน ลดลง 9.4% ส่วนแบ่งตลาด  8.3%

*ปริมาณการขายรถกระบะดัดแปลง (ในตลาดรถกระบะขนาด 1 ตัน) 4,800 คัน
โตโยต้า 1,939 คัน – อีซูซุ 1,851 คัน – มิตซูบิชิ 531 คัน – ฟอร์ด 473  คัน – นิสสัน 6 คัน

5. ตลาดรถกระบะ Pure Pick up ปริมาณการขาย 26,369 คัน ลดลง 11.6%

อันดับที่ 1 อีซูซุ 13,549 คัน เพิ่มขึ้น 4.6% ส่วนแบ่งตลาด 51.4%
อันดับที่ 2 โตโยต้า 7,842 คัน ลดลง 16.7% ส่วนแบ่งตลาด 29.7%
อันดับที่ 3 ฟอร์ด 2,119 คัน ลดลง 12.1% ส่วนแบ่งตลาด 8.0%

สถิติการจำหน่ายรถยนต์ เดือนมกราคม – กุมภาพันธ์ 2564

1. ตลาดรถยนต์รวม ปริมาณการขาย 114,168 คัน ลดลง 16.3%

อันดับที่ 1 โตโยต้า
33,655 คัน ลดลง 13.3% ส่วนแบ่งตลาด 29.5%
อันดับที่ 2 อีซูซุ 31,725 คัน เพิ่มขึ้น 10.3% ส่วนแบ่งตลาด 27.8%
อันดับที่ 3 ฮอนด้า
14,664 คัน ลดลง 30.7% ส่วนแบ่งตลาด 12.8%

2. ตลาดรถยนต์นั่ง ปริมาณการขาย 35,073 คัน ลดลง 35.3%

อันดับที่ 1 ฮอนด้า 12,394 คัน ลดลง 30.7% ส่วนแบ่งตลาด 35.3%
อันดับที่ 2 โตโยต้า
9,129 คัน ลดลง 31.1% ส่วนแบ่งตลาด 26.0%
อันดับที่ 3 มาสด้า 3,605 คัน ลดลง 34.7% ส่วนแบ่งตลาด 10.3%

3. ตลาดรถเพื่อการพาณิชย์ ปริมาณการขาย 79,095 คัน ลดลง 3.9%

อันดับที่ 1 อีซูซุ 31,725 คัน เพิ่มขึ้น 10.3% ส่วนแบ่งตลาด 40.1%
อันดับที่ 2 โตโยต้า
24,496 คัน ลดลง 4.2% ส่วนแบ่งตลาด 31.0%
อันดับที่ 3 ฟอร์ด 4,897 คัน ลดลง 2.0% ส่วนแบ่งตลาด 6.2%

4. ตลาดรถกระบะขนาด 1 ตัน  (Pure Pick up และ รถกระบะดัดแปลง PPV*) ปริมาณการขาย 61,276 คัน ลดลง 8.1%

อันดับที่ 1 อีซูซุ
29,598 คัน เพิ่มขึ้น 9.7% ส่วนแบ่งตลาด 48.3%
อันดับที่ 2 โตโยต้า
20,275 คัน ลดลง 9.4% ส่วนแบ่งตลาด 33.1%
อันดับที่ 3 ฟอร์ด 4,897 คัน ลดลง 2.0% ส่วนแบ่งตลาด 8.0%

*ปริมาณการขายรถกระบะดัดแปลง (ในตลาดรถกระบะขนาด 1 ตัน) 9,094 คัน
โตโยต้า 3,914 คัน – อีซูซุ 3,285 คัน – มิตซูบิชิ 1,053 คัน – ฟอร์ด 816  คัน – นิสสัน 26 คัน

5. ตลาดรถกระบะ Pure Pick up ปริมาณการขาย 52,182 คัน ลดลง 12.9%

อันดับที่ 1 อีซูซุ
26,313 คัน เพิ่มขึ้น 1.7% ส่วนแบ่งตลาด 50.4%
อันดับที่ 2 โตโยต้า
16,361 คัน ลดลง 18.3% ส่วนแบ่งตลาด 31.4%
อันดับที่ 3 ฟอร์ด 4,081 คัน ลดลง 0.9% ส่วนแบ่งตลาด 7.8%

หากช่วงนี้ใครอยากซื้อรถมือสองคุณภาพเยี่ยม ผ่านการตรวจสภาพได้มาตรฐาน รับประกันพร้อมโอนทุกคัน หรือหารถมือสองรุ่นที่ต้องการ สามารถเข้ามาดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ CARRO Automall > https://th.carro.co/buy-car หรือโทร. 02-508-8690 หรือจะ Inbox มาสอบถามก็ได้เช่นกัน ที่ Facebook CARRO Automall – รถบ้านมือสอง ถ้าสะดวก Add Line ก็ที่ @carroautomall

ส่วนถ้าใครอยากขายรถ เพื่อนำเงินไปใช้จ่ายในยุคเศรษฐกิจฝืดเคือง สามารถขายคันเก่ากับ CARRO Express ได้ เรายินดีรับซื้อรถของคุณ ได้เงินไว เร็ว พร้อมปิดการขายได้ทันที แค่คลิก https://th.carro.co/sell-car/express หรืออยากตีราคารถก่อน สามารถ Inbox สอบถามรายละเอียดได้ที่ Facebook CARRO Thailand

หรือจะ Add Line สอบถามรายละเอียดได้ที่ @Carrothai หรือคลิกที่นี่ —> เพิ่มเพื่อน

แหล่งที่มาจาก:

Thailand-Monthly-Car-Sales-Volume

สถิติการขายรถยนต์ประจำเดือนพฤศจิกายน 2563 มียอดการขายรวมทั้งสิ้น 79,177 คัน เพิ่มขึ้น 2.7% เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีที่ผ่านมา ประกอบด้วย รถยนต์นั่ง 25,437 คัน ลดลง 7.2% รถเพื่อการพาณิชย์ 53,740 คัน เพิ่มขึ้น 8.2% ขณะที่รถกระบะขนาด 1 ตัน ในเซกเมนท์นี้ มีจำนวน 42,763 คัน เพิ่มขึ้น 6.8%

ส่วนตลาดรถยนต์สะสม 11 เดือน มีปริมาณการขาย 688,057 คัน ลดลง 24.7% เมื่อเทียบกับช่วงเวลาเดียวกันของปีที่ผ่านมา โดยตลาดรถยนต์นั่งมีอัตราการเติบโตลดลง 34.5% ตลาดรถเพื่อการพาณิชย์มีอัตราการเติบโตลดลง 18.3% เป็นผลกระทบมาจากโควิด-19 มาตั้งแต่ต้นปี

แต่อย่างไรก็ตาม ภาครัฐฯ ยังออกมาตรการเยียวยาและฟื้นฟูเศรษฐกิจในด้านต่างๆ เพื่อกระตุ้นการใช้จ่ายของคนไทยอย่างต่อเนื่อง รวมถึงตลาดรถยนต์ บรรดาค่ายรถยนต์ต่างๆ มอบข้อเสนอพิเศษ รวมถึงเสนอผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ และปรับปรุงใหม่ ในงาน Motor Expo 2020 เพื่อให้ผู้บริโภคซื้อรถได้ง่ายขึ้น ส่งผลให้ตลาดรถยนต์ในเดือนธันวาคมมีทิศทางดีขึ้น

All-New-Honda-City-Hatchback-2021

ปริมาณการจำหน่ายรถยนต์ เดือนพฤศจิกายน 2563

1. ตลาดรถยนต์รวม ปริมาณการขาย 79,177 คัน เพิ่มขึ้น 2.7%

อันดับที่ 1 โตโยต้า 28,279 คัน เพิ่มขึ้น 4.0% ส่วนแบ่งตลาด 35.7%
อันดับที่ 2 อีซูซุ
17,577 คัน เพิ่มขึ้น 20.2% ส่วนแบ่งตลาด 22.2%
อันดับที่ 3 ฮอนด้า 8,908 คัน เพิ่มขึ้น 0.2% ส่วนแบ่งตลาด  11.3%

2. ตลาดรถยนต์นั่ง ปริมาณการขาย 25,437 คัน ลดลง 7.2%

อันดับที่ 1 โตโยต้า 7,420 คัน ลดลง 23.6% ส่วนแบ่งตลาด 29.2%
อันดับที่ 2 ฮอนด้า 7,376 คัน เพิ่มขึ้น 9.3% ส่วนแบ่งตลาด 29.0%
อันดับที่ 3 มาสด้า 2,746 คัน ลดลง 6.7% ส่วนแบ่งตลาด  10.8%

3. ตลาดรถเพื่อการพาณิชย์ ปริมาณการขาย 53,740 คัน เพิ่มขึ้น 8.2%

อันดับที่ 1 โตโยต้า 20,859 คัน เพิ่มขึ้น 19.3% ส่วนแบ่งตลาด 38.8%
อันดับที่ 2 อีซูซุ 17,577 คัน เพิ่มขึ้น 20.2% ส่วนแบ่งตลาด 32.7%
อันดับที่ 3 มิตซูบิชิ 3,727 คัน เพิ่มขึ้น 5.5% ส่วนแบ่งตลาด  6.9%

4. ตลาดรถกระบะขนาด 1 ตัน*  (Pure Pick up และ รถกระบะดัดแปลง PPV) ปริมาณการขาย 42,763 คัน เพิ่มขึ้น 6.8%

อันดับที่ 1 โตโยต้า 17,305 คัน เพิ่มขึ้น 10.7% ส่วนแบ่งตลาด 40.5%
อันดับที่ 2 อีซูซุ 16,578 คัน เพิ่มขึ้น 24.0% ส่วนแบ่งตลาด 38.8%
อันดับที่ 3 มิตซูบิชิ 3,727 คัน เพิ่มขึ้น 5.5% ส่วนแบ่งตลาด 8.7%

*ปริมาณการขายรถกระบะดัดแปลง (ในตลาดรถกระบะขนาด 1 ตัน) 5,318 คัน
โตโยต้า 2,766 คัน – อีซูซุ 1,108 คัน – มิตซูบิชิ 838 คัน – ฟอร์ด 465 คัน – นิสสัน 141 คัน  

5. ตลาดรถกระบะ Pure Pick up ปริมาณการขาย 37,445 คัน เพิ่มขึ้น 3.3%

อันดับที่ 1 อีซูซุ 15,470 คัน เพิ่มขึ้น 21.5% ส่วนแบ่งตลาด 41.3%
อันดับที่ 2 โตโยต้า 14,539 คัน เพิ่มขึ้น 3.5% ส่วนแบ่งตลาด 38.8%
อันดับที่ 3 มิตซูบิชิ 2,889 คัน เพิ่มขึ้น 6.7% ส่วนแบ่งตลาด 7.7%

สถิติการจำหน่ายรถยนต์ เดือนมกราคม – พฤศจิกายน 2563

1. ตลาดรถยนต์รวม ปริมาณการขาย 688,057 คัน ลดลง 24.7%

อันดับที่ 1 โตโยต้า
211,119 คัน ลดลง 30.3% ส่วนแบ่งตลาด 30.7%
อันดับที่ 2 อีซูซุ 158,277 คัน เพิ่มขึ้น 3.8% ส่วนแบ่งตลาด 23.0%
อันดับที่ 3 ฮอนด้า
82,966 คัน ลดลง 28.7% ส่วนแบ่งตลาด 12.1%

2. ตลาดรถยนต์นั่ง ปริมาณการขาย 236,659 คัน ลดลง 34.5%

อันดับที่ 1 ฮอนด้า 69,041 คัน ลดลง 22.7% ส่วนแบ่งตลาด 29.2%
อันดับที่ 2 โตโยต้า
59,341 คัน ลดลง 44.9% ส่วนแบ่งตลาด 25.1%
อันดับที่ 3 นิสสัน 24,666 คัน ลดลง 25.7% ส่วนแบ่งตลาด 10.4%

3. ตลาดรถเพื่อการพาณิชย์ ปริมาณการขาย 451,398 คัน ลดลง 18.3%

อันดับที่ 1 อีซูซุ 158,277 คัน เพิ่มขึ้น 3.8% ส่วนแบ่งตลาด 35.1%
อันดับที่ 2 โตโยต้า
151,778 คัน ลดลง 22.3% ส่วนแบ่งตลาด 33.6%
อันดับที่ 3 มิตซูบิชิ 31,541 คัน ลดลง 29.5% ส่วนแบ่งตลาด 7.0%

4. ตลาดรถกระบะขนาด 1 ตัน* (Pure Pick up และ รถกระบะดัดแปลง PPV) ปริมาณการขาย 357,947 คัน ลดลง 19.9%

อันดับที่ 1 อีซูซุ
146,901 คัน เพิ่มขึ้น 6.1% ส่วนแบ่งตลาด 41.0%
อันดับที่ 2 โตโยต้า
129,512 คัน ลดลง 25.8% ส่วนแบ่งตลาด 36.2%
อันดับที่ 3 มิตซูบิชิ
31,541 คัน ลดลง 29.5% ส่วนแบ่งตลาด8.8%

*ปริมาณการขายรถกระบะดัดแปลง (ในตลาดรถกระบะขนาด 1 ตัน) 37,064 คัน
โตโยต้า 17,033 คัน – มิตซูบิชิ 8,224 คัน – อีซูซุ 5,333 คัน – ฟอร์ด 4,487 คัน – นิสสัน 1,315 คัน –เชฟโรเลต 672 คัน

5. ตลาดรถกระบะ Pure Pick up ปริมาณการขาย 320,883 คัน ลดลง 18.2%

อันดับที่ 1 อีซูซุ
141,568 คัน เพิ่มขึ้น 9.1% ส่วนแบ่งตลาด 44.1%
อันดับที่ 2 โตโยต้า
112,479 คัน ลดลง 25.3% ส่วนแบ่งตลาด 35.1%
อันดับที่ 3 มิตซูบิชิ
23,317 คัน ลดลง 28.3% ส่วนแบ่งตลาด 7.3%

หากช่วงนี้ใครอยากซื้อรถมือสองคุณภาพเยี่ยม ผ่านการตรวจสภาพได้มาตรฐาน รับประกันพร้อมโอนทุกคัน หรือหารถมือสองรุ่นที่ต้องการ สามารถเข้ามาดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ CARRO Automall > https://th.carro.co/buy-car หรือโทร. 02-508-8690 หรือจะ Inbox มาสอบถามก็ได้เช่นกัน ที่ Facebook CARRO Automall – รถบ้านมือสอง ถ้าสะดวก Add Line ก็ที่ @carroautomall

ส่วนถ้าใครอยากขายรถ เพื่อนำเงินไปใช้จ่ายในยุคเศรษฐกิจฝืดเคือง สามารถขายคันเก่ากับ CARRO Express ได้ เรายินดีรับซื้อรถของคุณ ได้เงินไว เร็ว พร้อมปิดการขายได้ทันที แค่คลิก https://th.carro.co/sell-car/express หรืออยากตีราคารถก่อน สามารถ Inbox สอบถามรายละเอียดได้ที่ Facebook CARRO Thailand

หรือจะ Add Line สอบถามรายละเอียดได้ที่ @Carrothai หรือคลิกที่นี่ —> เพิ่มเพื่อน

แหล่งที่มาจาก:

Thailand-Monthly-Car-Sales-Volume

สถิติการขายรถยนต์ประจำเดือนตุลาคม 2563 มียอดขายรวมทั้งสิ้น 74,115 คัน ลดลง 1.4% เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีที่ผ่านมา ประกอบด้วย รถยนต์นั่ง 22,461 คัน ลดลง 20.7% รถเพื่อการพาณิชย์ 51,654 คัน เพิ่มขึ้น 10.4% ขณะที่รถกระบะขนาด 1 ตัน ในเซกเมนท์นี้ มีจำนวน 40,837 คัน เพิ่มขึ้น 9.3% เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปีที่ผ่านมา เนื่องจากสถานการณ์ COVID-19 ในประเทศกำลังไปในทิศทางที่ดีขึ้น

ประกอบกับการที่รัฐบาลได้ออกมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจอย่างต่อเนื่อง อาทิเช่น โครงการ “เราเที่ยวด้วยกัน” โครงการ “คนละครึ่ง” และมาตรการ “ช้อปดีมีคืน” ช่วยกระตุ้นการใช้จ่ายของผู้บริโภค อีกทั้งราคาพืชผลทางการเกษตรหลายรายการปรับตัวดีขึ้น ทำให้เกษตรกรเริ่มมีรายได้สูงขึ้น และกำลังซื้อมีเพิ่มขึ้นตามไปด้วย ซึ่งส่งผลในเชิงบวกกับตลาดรถยนต์

Nissan-Navara-Pro-4X-2021

ส่วนตลาดรถยนต์สะสม 9 เดือน มีปริมาณการขาย 534,765 คัน ลดลง 29.8% เมื่อเทียบกับช่วงเวลาเดียวกันของปีที่ผ่านมา โดยตลาดรถยนต์นั่งมีอัตราการเติบโตลดลง 38.2% ตลาดรถเพื่อการพาณิชย์มีอัตราการเติบโตลดลง 24.2% เป็นผลกระทบมาจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัส COVID-19

ส่วนตลาดรถยนต์สะสม 10 เดือน มีปริมาณการขาย 608,880 คัน ลดลง 27.3% เมื่อเทียบกับช่วงเวลาเดียวกันของปีที่ผ่านมา โดยตลาดรถยนต์นั่งมีอัตราการเติบโตลดลง 36.8% ตลาดรถเพื่อการพาณิชย์มีอัตราการเติบโตลดลง 20.9% เป็นผลกระทบมาจากโควิด-19 มาตั้งแต่ต้นปี

บรรดาค่ายรถยนต์ต่างๆ พยายามอย่างเต็มที่ในช่วงปลายปี ให้เกิดการตัดสินใจซื้อของผู้บริโภค ทั้งการแนะนำรถใหม่ๆ การออกกลยุทธ์ต่างๆ คาดหวังว่าตลาดรถยนต์ในเดือนพฤศจิกายนจะมีทิศทางที่ดีขึ้น

All-New-Isuzu-MU-X-2020

ปริมาณการจำหน่ายรถยนต์ เดือนตุลาคม 2563

1.     ตลาดรถยนต์รวม ปริมาณการขาย 74,115 คัน ลดลง 1.4%

อันดับที่ 1 โตโยต้า 25,709 คัน ลดลง 3.6% ส่วนแบ่งตลาด 34.7%
อันดับที่ 2 อีซูซุ
17,174 คัน เพิ่มขึ้น 44.8% ส่วนแบ่งตลาด 23.2%
อันดับที่ 3 ฮอนด้า 9,011 คัน ลดลง 7.2% ส่วนแบ่งตลาด  12.2%

2. ตลาดรถยนต์นั่ง ปริมาณการขาย 22,461 คัน ลดลง 20.7%

อันดับที่ 1 ฮอนด้า 7,233 คัน ลดลง 6.9% ส่วนแบ่งตลาด 32.2%
อันดับที่ 2 โตโยต้า 6,245 คัน ลดลง 32.0% ส่วนแบ่งตลาด 27.8%
อันดับที่ 3 นิสสัน 2,602 คัน เพิ่มขึ้น 0.0% ส่วนแบ่งตลาด  11.6%

3. ตลาดรถเพื่อการพาณิชย์ ปริมาณการขาย 51,654 คัน เพิ่มขึ้น 10.4%

อันดับที่ 1 โตโยต้า 19,464 คัน เพิ่มขึ้น 11.3% ส่วนแบ่งตลาด 37.7%
อันดับที่ 2 อีซูซุ 17,174 คัน เพิ่มขึ้น 44.8% ส่วนแบ่งตลาด 33.2%
อันดับที่ 3 มิตซูบิชิ 2,985 คัน ลดลง 23.8% ส่วนแบ่งตลาด  5.8%

4. ตลาดรถกระบะขนาด 1 ตัน*  (Pure Pick up และ รถกระบะดัดแปลง PPV) ปริมาณการขาย 40,837 คัน เพิ่มขึ้น 9.3%

อันดับที่ 1 โตโยต้า 16,622 คัน เพิ่มขึ้น 6.3% ส่วนแบ่งตลาด 40.7%
อันดับที่ 2 อีซูซุ 16,010 คัน เพิ่มขึ้น 51.5% ส่วนแบ่งตลาด 39.2%
อันดับที่ 3 มิตซูบิชิ 2,985 คัน ลดลง 23.8% ส่วนแบ่งตลาด 7.3%

*ปริมาณการขายรถกระบะดัดแปลง (ในตลาดรถกระบะขนาด 1 ตัน) 4,127 คัน
โตโยต้า 2,783 คัน- มิตซูบิชิ 816 คัน – ฟอร์ด 452 – คัน- อีซูซุ 70 คัน – เชฟโรเลต 6 คัน

5. ตลาดรถกระบะ Pure Pick up ปริมาณการขาย 36,710 คัน เพิ่มขึ้น 11%

อันดับที่ 1 อีซูซุ 15,940 คัน เพิ่มขึ้น 59.8% ส่วนแบ่งตลาด 43.4%
อันดับที่ 2 โตโยต้า 13,839 คัน เพิ่มขึ้น 1.5% ส่วนแบ่งตลาด 37.7%
อันดับที่ 3 ฟอร์ด 2,198 คัน ลดลง 29.6% ส่วนแบ่งตลาด 6.0%

สถิติการจำหน่ายรถยนต์ เดือนมกราคม – ตุลาคม 2563

1.  ตลาดรถยนต์รวม ปริมาณการขาย 608,880 คัน ลดลง 27.3%

อันดับที่ 1 โตโยต้า
182,840 คัน ลดลง 33.7% ส่วนแบ่งตลาด 30.0%
อันดับที่ 2 อีซูซุ 140,700 คัน เพิ่มขึ้น 2.1% ส่วนแบ่งตลาด 23.1%
อันดับที่ 3 ฮอนด้า
74,058 คัน ลดลง 31.0% ส่วนแบ่งตลาด 12.2%

2.  ตลาดรถยนต์นั่ง ปริมาณการขาย 211,222 คัน ลดลง 36.8%

อันดับที่ 1 ฮอนด้า 61,665 คัน ลดลง 25.3% ส่วนแบ่งตลาด 29.2%
อันดับที่ 2 โตโยต้า
51,921 คัน ลดลง 47.0% ส่วนแบ่งตลาด 24.6%
อันดับที่ 3 นิสสัน 21,951 คัน ลดลง 27.9% ส่วนแบ่งตลาด 10.4%

3.  ตลาดรถเพื่อการพาณิชย์ ปริมาณการขาย 397,658 คัน ลดลง 20.9%

อันดับที่ 1 อีซูซุ 140,700 คัน เพิ่มขึ้น 2.1% ส่วนแบ่งตลาด 35.4%
อันดับที่ 2 โตโยต้า
130,919 คัน ลดลง 26.4% ส่วนแบ่งตลาด 32.9%
อันดับที่ 3 มิตซูบิชิ 27,814 คัน ลดลง 32.5% ส่วนแบ่งตลาด 7.0%

4.  ตลาดรถกระบะขนาด 1 ตัน* (Pure Pick up และ รถกระบะดัดแปลง PPV) ปริมาณการขาย 315,184 คัน ลดลง 22.6%

อันดับที่ 1 อีซูซุ
130,323  คัน เพิ่มขึ้น 4.2% ส่วนแบ่งตลาด 41.3%
อันดับที่ 2 โตโยต้า
112,207 คัน ลดลง 29.4% ส่วนแบ่งตลาด 35.6%
อันดับที่ 3 มิตซูบิชิ
27,814 คัน ลดลง 32.5% ส่วนแบ่งตลาด 8.8%

*ปริมาณการขายรถกระบะดัดแปลง (ในตลาดรถกระบะขนาด 1 ตัน) 31,746 คัน
โตโยต้า 14,267 คัน – มิตซูบิชิ 7,386 คัน – อีซูซุ 4,225 คัน – ฟอร์ด 4,022 คัน – นิสสัน 1,174 คัน –เชฟโรเลต 672 คัน

5.  ตลาดรถกระบะ Pure Pick up ปริมาณการขาย 283,438 คัน ลดลง 20.3%

อันดับที่ 1 อีซูซุ
126,098 คัน เพิ่มขึ้น 7.7% ส่วนแบ่งตลาด 44.5%
อันดับที่ 2 โตโยต้า
97,940 คัน ลดลง 28.2% ส่วนแบ่งตลาด 34.6%
อันดับที่ 3 มิตซูบิชิ
20,428 คัน ลดลง 31.5% ส่วนแบ่งตลาด 7.2%

ส่วนถ้าใครอยากขายรถ เพื่อนำเงินไปใช้จ่ายในยุคเศรษฐกิจฝืดเคือง สามารถขายคันเก่ากับ CARRO Express ได้ เรายินดีรับซื้อรถของคุณ ได้เงินไว เร็ว พร้อมปิดการขายได้ทันที แค่คลิก https://th.carro.co/sell-car/express หรืออยากตีราคารถก่อน สามารถ Inbox สอบถามรายละเอียดได้ที่ Facebook CARRO Thailand

หรือจะ Add Line สอบถามรายละเอียดได้ที่ @Carrothai หรือคลิกที่นี่ —> เพิ่มเพื่อน

แหล่งที่มาจาก:

Thailand-Monthly-Car-Sales-Volume

สถิติการขายรถยนต์ประจำเดือนกันยายน 2563 มียอดการขายรวมทั้งสิ้น 77,943 คัน ลดลง 3.5% เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีที่ผ่านมา ประกอบด้วย รถยนต์นั่ง 29,245 คัน ลดลง 22.7% รถเพื่อการพาณิชย์ 48,698 คัน เพิ่มขึ้น 13.5%ขณะที่ รถกระบะขนาด 1 ตัน ในเซกเมนท์นี้ มีจำนวน 38,196 คัน เพิ่มขึ้น 11.6%

จะเห็นได้ว่า ยอดขายโดยรวมของเดือนกันยายนปรับตัวดีขึ้น และธุรกิจต่างๆ เริ่มกลับมาฟื้นตัว อาทิเช่น ธุรกิจด้านการขนส่ง (Logistic) และการส่งออกสินค้าเกษตร ซึ่งส่งผลในเชิงบวกให้กับตลาดรถยนต์

ส่วนตลาดรถยนต์สะสม 9 เดือน มีปริมาณการขาย 534,765 คัน ลดลง 29.8% เมื่อเทียบกับช่วงเวลาเดียวกันของปีที่ผ่านมา โดยตลาดรถยนต์นั่งมีอัตราการเติบโตลดลง 38.2% ตลาดรถเพื่อการพาณิชย์มีอัตราการเติบโตลดลง 24.2% เป็นผลมาจากการแพร่ระบาดของโควิด-19

All-New-Isuzu-D-Max-X-Series-2020

ปริมาณการจำหน่ายรถยนต์ เดือนกันยายน 2563

1.     ตลาดรถยนต์รวม ปริมาณการขาย 77,943 คัน ลดลง 3.5%

อันดับที่ 1 โตโยต้า 23,757 คัน ลดลง 3.6% ส่วนแบ่งตลาด 30.5%
อันดับที่ 2 อีซูซุ
15,438 คัน เพิ่มขึ้น 44.8% ส่วนแบ่งตลาด 19.8%
อันดับที่ 3 ฮอนด้า 9,077 คัน ลดลง 12.4% ส่วนแบ่งตลาด  11.6%

2. ตลาดรถยนต์นั่ง ปริมาณการขาย 29,245 คัน ลดลง 22.7%

อันดับที่ 1 ฮอนด้า 7,598 คัน ลดลง 8.4% ส่วนแบ่งตลาด 26.0%
อันดับที่ 2 โตโยต้า 5,430 คัน ลดลง 44.0% ส่วนแบ่งตลาด 18.6%
อันดับที่ 3 นิสสัน 2,240 คัน ลดลง 16.7% ส่วนแบ่งตลาด  7.7%

3. ตลาดรถเพื่อการพาณิชย์ ปริมาณการขาย 48,698 คัน เพิ่มขึ้น 13.5%

อันดับที่ 1 โตโยต้า 18,327 คัน เพิ่มขึ้น 22.5% ส่วนแบ่งตลาด 37.6%
อันดับที่ 2 อีซูซุ 15,438 คัน เพิ่มขึ้น 44.8% ส่วนแบ่งตลาด 31.7%
อันดับที่ 3 มิตซูบิชิ 3,124 คัน ลดลง 22.5% ส่วนแบ่งตลาด  6.4%

4. ตลาดรถกระบะขนาด 1 ตัน*  (Pure Pick up และ รถกระบะดัดแปลง PPV)  ปริมาณการขาย 38,196 คัน เพิ่มขึ้น 11.6%

อันดับที่ 1 โตโยต้า 15,332 คัน เพิ่มขึ้น 13.9% ส่วนแบ่งตลาด 40.1%
อันดับที่ 2 อีซูซุ 14,143 คัน เพิ่มขึ้น 51.4% ส่วนแบ่งตลาด 37.0%
อันดับที่ 3 มิตซูบิชิ 3,124 คัน ลดลง 22.5% ส่วนแบ่งตลาด 8.2%

*ปริมาณการขายรถกระบะดัดแปลง (ในตลาดรถกระบะขนาด 1 ตัน) 3,903 คัน
โตโยต้า 2,147 คัน- มิตซูบิชิ 959 คัน – ฟอร์ด 514 – คัน- อีซูซุ 268 คัน – เชฟโรเลต 14 คัน – นิสสัน 1 คัน

5. ตลาดรถกระบะ Pure Pick up ปริมาณการขาย 34,293 คัน เพิ่มขึ้น 15.7%

อันดับที่ 1 อีซูซุ 13,875 คัน เพิ่มขึ้น 59.7% ส่วนแบ่งตลาด 40.5%
อันดับที่ 2 โตโยต้า 13,185 คัน เพิ่มขึ้น 13.0% ส่วนแบ่งตลาด 38.4%
อันดับที่ 3 ฟอร์ด 2,331 คัน ลดลง 24.5% ส่วนแบ่งตลาด 6.8%

สถิติการจำหน่ายรถยนต์ เดือนมกราคม – กันยายน 2563

1.  ตลาดรถยนต์รวม ปริมาณการขาย 534,765 คัน ลดลง 29.8%

อันดับที่ 1 โตโยต้า
157,131 คัน ลดลง 36.9% ส่วนแบ่งตลาด 29.4%
อันดับที่ 2 อีซูซุ 123,526 คัน ลดลง 1.9% ส่วนแบ่งตลาด 23.1%
อันดับที่ 3 ฮอนด้า
65,047 คัน ลดลง 33.4% ส่วนแบ่งตลาด 12.2%

2.  ตลาดรถยนต์นั่ง ปริมาณการขาย 188,761 คัน ลดลง 38.2%

อันดับที่ 1 ฮอนด้า 54,432 คัน ลดลง 27.2% ส่วนแบ่งตลาด 28.8%
อันดับที่ 2 โตโยต้า
45,676 คัน ลดลง 48.5% ส่วนแบ่งตลาด 24.2%
อันดับที่ 3 นิสสัน 19,349 คัน ลดลง 30.6% ส่วนแบ่งตลาด 10.3%

3.  ตลาดรถเพื่อการพาณิชย์ ปริมาณการขาย 346,004 คัน ลดลง 24.2%

อันดับที่ 1 อีซูซุ 123,526 คัน ลดลง 1.9% ส่วนแบ่งตลาด 35.7%
อันดับที่ 2 โตโยต้า
111,455 คัน ลดลง 30.5% ส่วนแบ่งตลาด 32.2%
อันดับที่ 3 มิตซูบิชิ 24,829 คัน ลดลง 33.4% ส่วนแบ่งตลาด 7.2%

4.  ตลาดรถกระบะขนาด 1 ตัน* (Pure Pick up และ รถกระบะดัดแปลง PPV) ปริมาณการขาย 274,347 คัน ลดลง 25.8%

อันดับที่ 1 อีซูซุ
114,313  คัน ลดลง 0.2% ส่วนแบ่งตลาด 41.7%
อันดับที่ 2 โตโยต้า
95,585 คัน ลดลง 33.3% ส่วนแบ่งตลาด 34.8%
อันดับที่ 3 มิตซูบิชิ
24,829 คัน ลดลง 33.4% ส่วนแบ่งตลาด 9.1%

*ปริมาณการขายรถกระบะดัดแปลง (ในตลาดรถกระบะขนาด 1 ตัน) 27,619 คัน
โตโยต้า 11,484 คัน – มิตซูบิชิ 6,570 คัน – อีซูซุ 4,155 คัน – ฟอร์ด 3,570 คัน – นิสสัน 1,174 คัน –เชฟโรเลต 666 คัน

5.  ตลาดรถกระบะ Pure Pick up ปริมาณการขาย 246,728 คัน ลดลง 23.6%

อันดับที่ 1 อีซูซุ
110,158 คัน เพิ่มขึ้น 2.9% ส่วนแบ่งตลาด 44.6%
อันดับที่ 2 โตโยต้า
84,101 คัน ลดลง 31.5% ส่วนแบ่งตลาด 34.1%
อันดับที่ 3 มิตซูบิชิ
18,259 คัน ลดลง 32.2% ส่วนแบ่งตลาด 7.4%
ส่วนถ้าใครอยากขายรถ เพื่อนำเงินไปใช้จ่ายในยุคเศรษฐกิจฝืดเคือง สามารถขายคันเก่ากับ CARRO Express ได้ เรายินดีรับซื้อรถของคุณ ได้เงินไว เร็ว พร้อมปิดการขายได้ทันที แค่คลิก https://th.carro.co/sell-car/express หรืออยากตีราคารถก่อน สามารถ Inbox สอบถามรายละเอียดได้ที่ Facebook CARRO Thailand

หรือจะ Add Line สอบถามรายละเอียดได้ที่ @Carrothai หรือคลิกที่นี่ —> เพิ่มเพื่อน

แหล่งที่มาจาก:

Thailand-Monthly-Car-Sales-Volume

สถิติการขายรถยนต์ประจำเดือนสิงหาคม มีปริมาณการขาย 68,883 คัน ยังลดลง 12.1% เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีที่ผ่านมา โดยตลาดรถยนต์นั่งมีอัตราการเติบโตลดลง 30.3% และตลาดรถเพื่อการพาณิชย์ มีอัตราการเติบโตลดลง 0.5% เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปีที่ผ่านมา เพราะยังเป็นผลมาจากสถานการณ์โควิด-19

Toyota-Yaris-ATIV-2020

อย่างไรก็ตาม ยอดขายโดยรวมของเดือนสิงหาคมปรับตัวดีขึ้น เมื่อเทียบกับเดือนกรกฎาคม เนื่องจากความเชื่อมั่นของผู้บริโภคปรับตัวดีชึ้นต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 4 หลังจากที่รัฐบาลได้ผ่อนคลายให้ธุรกิจสามารถกลับมาดำเนินการได้ และมีมาตรการเยียวยาผลกระทบจากสถานการณ์ COVID-19 ทั้งมาตรการด้านการเงินและการคลัง

ส่วนตลาดรถยนต์สะสม 8 เดือน มีปริมาณการขาย 448,006 คัน ลดลง 32.9% เมื่อเทียบกับช่วงเวลาเดียวกันของปีที่ผ่านมา โดยตลาดรถยนต์นั่งมีอัตราการเติบโตลดลง 40.7% ตลาดรถเพื่อการพาณิชย์มีอัตราการเติบโตลดลง 28.1% ซึ่งเป็นผลกระทบมาจากโควิด-19 ที่ส่งผลต่อเศรษฐกิจโดยรวมทั่วโลก

Nissan-Kicks-e-Power

ปริมาณการจำหน่ายรถยนต์ เดือนสิงหาคม 2563

1.     ตลาดรถยนต์รวม ปริมาณการขาย 68,883 คัน ลดลง 12.1%

อันดับที่ 1 โตโยต้า 21,599 คัน ลดลง 31.9% ส่วนแบ่งตลาด 31.4%
อันดับที่ 2 อีซูซุ
16,557 คัน เพิ่มขึ้น 11.9% ส่วนแบ่งตลาด 24.0%
อันดับที่ 3 ฮอนด้า 8,610 คัน ลดลง 45.3% ส่วนแบ่งตลาด  12.5%

2. ตลาดรถยนต์นั่ง ปริมาณการขาย 21,300 คัน ลดลง 30.3%

อันดับที่ 1 ฮอนด้า 7,099 คัน ลดลง 39.6% ส่วนแบ่งตลาด 33.3%
อันดับที่ 2 โตโยต้า 5,278 คัน ลดลง 43.5% ส่วนแบ่งตลาด 24.8%
อันดับที่ 3 นิสสัน 2,332 คัน ลดลง 19.4% ส่วนแบ่งตลาด 10.9%

3. ตลาดรถเพื่อการพาณิชย์ ปริมาณการขาย 47,583 คัน ลดลง 0.5%

อันดับที่ 1 อีซูซุ 16,557 คัน เพิ่มขึ้น 11.9% ส่วนแบ่งตลาด 34.8%
อันดับที่ 2 โตโยต้า 16,321 คัน ลดลง 25.7% ส่วนแบ่งตลาด 34.3%
อันดับที่ 3 มิตซูบิชิ 3,189 คัน ลดลง 21.7% ส่วนแบ่งตลาด  6.7%

4. ตลาดรถกระบะขนาด 1 ตัน*  (Pure Pick Up และ รถกระบะดัดแปลง PPV)  ปริมาณการขาย 37,035 คัน ลดลง 3.1%

อันดับที่ 1 อีซูซุ 15,280 คัน เพิ่มขึ้น 15.1% ส่วนแบ่งตลาด 41.3%
อันดับที่ 2 โตโยต้า 13,565 คัน ลดลง 30.3% ส่วนแบ่งตลาด 36.6%
อันดับที่ 3 มิตซูบิชิ 3,189 คัน ลดลง 21.7% ส่วนแบ่งตลาด 8.6%

*ปริมาณการขายรถกระบะดัดแปลง (ในตลาดรถกระบะขนาด 1 ตัน) 3,752 คัน
โตโยต้า 1,750 คัน- มิตซูบิชิ 934 คัน – ฟอร์ด 533 – คัน- อีซูซุ 422 คัน – นิสสัน 106 คัน – เชฟโรเลต 7 คัน

5. ตลาดรถกระบะ Pure Pick up ปริมาณการขาย 33,283 คัน เพิ่มขึ้น 0.1%

อันดับที่ 1 อีซูซุ 14,858 คัน เพิ่มขึ้น 17.7% ส่วนแบ่งตลาด 46.4%
อันดับที่ 2 โตโยต้า 11,815 คัน ลดลง 25.7% ส่วนแบ่งตลาด 35.5%
อันดับที่ 3 มิตซูบิชิ 2,255 คัน ลดลง 28.1% ส่วนแบ่งตลาด 6.8%

สถิติการจำหน่ายรถยนต์ เดือนมกราคม – สิงหาคม 2563

1.  ตลาดรถยนต์รวม ปริมาณการขาย 448,006 คัน ลดลง 32.9%

อันดับที่ 1 โตโยต้า
133,374 คัน ลดลง 43.3% ส่วนแบ่งตลาด 29.3%
อันดับที่ 2 อีซูซุ 108,088 คัน ลดลง 11.1% ส่วนแบ่งตลาด 24.1%
อันดับที่ 3 ฮอนด้า
55,970 คัน ลดลง 37.5% ส่วนแบ่งตลาด 12.5%

2.  ตลาดรถยนต์นั่ง ปริมาณการขาย 150,700 คัน ลดลง 40.7%

อันดับที่ 1 ฮอนด้า 46,834 คัน ลดลง 30.9% ส่วนแบ่งตลาด 31.1%
อันดับที่ 2 โตโยต้า
40,246 คัน ลดลง 49.5% ส่วนแบ่งตลาด 26.7%
อันดับที่ 3 นิสสัน
17,109 คัน ลดลง 34.8% ส่วนแบ่งตลาด 11.4%

3.  ตลาดรถเพื่อการพาณิชย์ ปริมาณการขาย 297,306 คัน ลดลง 28.1%

อันดับที่ 1 อีซูซุ
108,088 คัน ลดลง 11.1% ส่วนแบ่งตลาด 36.4%
อันดับที่ 2 โตโยต้า
93,128 คัน ลดลง 40.0% ส่วนแบ่งตลาด 31.3%
อันดับที่ 3 มิตซูบิชิ
21,705 คัน ลดลง 36.3% ส่วนแบ่งตลาด 7.3%

4.  ตลาดรถกระบะขนาด 1 ตัน* (Pure Pick up และ รถกระบะดัดแปลง PPV) ปริมาณการขาย 236,151 คัน ลดลง 29.6%

อันดับที่ 1 อีซูซุ
100,170 คัน ลดลง 10.1% ส่วนแบ่งตลาด 42.4%
อันดับที่ 2 โตโยต้า
80,253 คัน ลดลง 41.6% ส่วนแบ่งตลาด 34.0%
อันดับที่ 3 มิตซูบิชิ
21,705 คัน ลดลง 36.3% ส่วนแบ่งตลาด 9.2%

*ปริมาณการขายรถกระบะดัดแปลง (ในตลาดรถกระบะขนาด 1 ตัน) 23,716 คัน
โตโยต้า 9,337 คัน – มิตซูบิชิ 5,611 คัน – อีซูซุ 3,887 คัน – ฟอร์ด 3,056 คัน – นิสสัน 1,173 คัน –เชฟโรเลต 652 คัน

5.  ตลาดรถกระบะ Pure Pick up ปริมาณการขาย 212,435 คัน ลดลง 27.5%

อันดับที่ 1 อีซูซุ
96,283 คัน ลดลง 7.6% ส่วนแบ่งตลาด 45.3%
อันดับที่ 2 โตโยต้า
70,916 คัน ลดลง 39.4% ส่วนแบ่งตลาด 33.4%
อันดับที่ 3 มิตซูบิชิ
16,094 คัน ลดลง 35.1% ส่วนแบ่งตลาด 7.6%
ส่วนถ้าใครอยากขายรถ เพื่อนำเงินไปใช้จ่ายในยุคเศรษฐกิจฝืดเคือง สามารถขายคันเก่ากับ CARRO Express ได้ เรายินดีรับซื้อรถของคุณ ได้เงินไว เร็ว พร้อมปิดการขายได้ทันที แค่คลิก https://th.carro.co/sell-car/express หรืออยากตีราคารถก่อน สามารถ Inbox สอบถามรายละเอียดได้ที่ Facebook CARRO Thailand

หรือจะ Add Line สอบถามรายละเอียดได้ที่ @Carrothailand หรือคลิกที่นี่ —> เพิ่มเพื่อน

แหล่งที่มาจาก:

Thailand-Monthly-Car-Sales-Volume
สถิติการขายรถยนต์ประจำเดือนกรกฎาคม 2563 มียอดการขายรวมทั้งสิ้น 59,335 คัน ลดลง 26.8% ประกอบด้วย รถยนต์นั่ง 18,500 คัน ลดลง 43.6% รถเพื่อการพาณิชย์ 40,835 คัน ลดลง 15.4% ขณะที่ รถกระบะขนาด 1 ตัน ในเซกเมนท์นี้ มีจำนวน 32,707 คัน ลดลง 15.9%

โดยตลาดรถยนต์นั่ง มีอัตราการเติบโตลดลง 43.6% และตลาดรถเพื่อการพาณิชย์ มีอัตราการเติบโตลดลง 15.4% เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปีที่ผ่านมา

Toyota-Corolla-Cross-2020

จะเห็นได้ว่ายอดขายของเดือนกรกฎาคม มีแนวโน้มดีขึ้นจากเดือนมิถุนายนที่ผ่านมา เนื่องจากรัฐบาลได้ผ่อนปรนมาตรการระยะที่ 5 ซึ่งทำให้ธุรกิจสามารถกลับมาดำเนินการได้ รวมถึงการเริ่มมีการจัดงานส่งเสริมการขายรถยนต์ ได้แก่ งาน Motor Show 2020 และงาน Big Motor Sale 2020 อีกทั้งมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจ มาตรการช่วยเหลือการท่องเที่ยวในประเทศ “เราเที่ยวด้วยกัน” ช่วยขับเคลื่อนเศรษฐกิจ ก่อให้เกิดการใช้จ่าย ซึ่งส่งผลในเชิงบวกกับตลาดรถยนต์

ส่วนตลาดรถยนต์สะสม 7 เดือน มีปริมาณการขาย 387,939 คัน ลดลง 35.9% เมื่อเทียบกับช่วงเวลาเดียวกันของปีที่ผ่านมา โดยตลาดรถยนต์นั่งมีอัตราการเติบโตลดลง 42.2% ตลาดรถเพื่อการพาณิชย์มีอัตราการเติบโตลดลง 31.7% จากปัญหาโควิด-19 ซึ่งส่งผลต่อเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศ และทั่วโลกอย่างต่อเนื่อง

Honda-CR-V-2020

ปริมาณการจำหน่ายรถยนต์ เดือนกรกฎาคม 2563

1.     ตลาดรถยนต์รวม ปริมาณการขาย 59,335 คัน ลดลง 26.8%

อันดับที่ 1 โตโยต้า 17,553 คัน ลดลง 31.9% ส่วนแบ่งตลาด 29.6%
อันดับที่ 2 อีซูซุ
15,477 คัน เพิ่มขึ้น 11.9% ส่วนแบ่งตลาด 26.1%
อันดับที่ 3 ฮอนด้า 6,034 คัน ลดลง 45.3% ส่วนแบ่งตลาด  10.2%

2. ตลาดรถยนต์นั่ง ปริมาณการขาย 18,500 คัน ลดลง 43.6%

อันดับที่ 1 ฮอนด้า 5,217 คัน ลดลง 39.6% ส่วนแบ่งตลาด 28.2%
อันดับที่ 2 โตโยต้า 5,042 คัน ลดลง 43.5% ส่วนแบ่งตลาด 27.3%
อันดับที่ 3 นิสสัน 2,136 คัน ลดลง 19.4% ส่วนแบ่งตลาด 11.5%

3. ตลาดรถเพื่อการพาณิชย์ ปริมาณการขาย 40,835 คัน ลดลง 15.4%

อันดับที่ 1 อีซูซุ 15,477 คัน เพิ่มขึ้น 11.9% ส่วนแบ่งตลาด 37.9%
อันดับที่ 2 โตโยต้า 12,511 คัน ลดลง 25.7% ส่วนแบ่งตลาด 30.6%
อันดับที่ 3 มิตซูบิชิ 3,100 คัน ลดลง 21.7% ส่วนแบ่งตลาด  7.6%

4. ตลาดรถกระบะขนาด 1 ตัน*  (Pure Pick up และ รถกระบะดัดแปลง PPV)  ปริมาณการขาย 32,707 คัน ลดลง 15.9%

อันดับที่ 1 อีซูซุ 14,317 คัน เพิ่มขึ้น 15.1% ส่วนแบ่งตลาด 43.8%
อันดับที่ 2 โตโยต้า 10,423 คัน ลดลง 30.3% ส่วนแบ่งตลาด 31.9%
อันดับที่ 3 มิตซูบิชิ 3,100 คัน ลดลง 21.7% ส่วนแบ่งตลาด 9.5%

*ปริมาณการขายรถกระบะดัดแปลง (ในตลาดรถกระบะขนาด 1 ตัน) 2,987 คัน
โตโยต้า 944 คัน- มิตซูบิชิ 859 คัน – อีซูซุ 517 – คัน- ฟอร์ด 425 คัน – นิสสัน 235 คัน – เชฟโรเลต 7 คัน

5. ตลาดรถกระบะ Pure Pick up ปริมาณการขาย 29,720 คัน ลดลง 13.5%

อันดับที่ 1 อีซูซุ 13,800 คัน เพิ่มขึ้น 17.7% ส่วนแบ่งตลาด 46.4%
อันดับที่ 2 โตโยต้า 9,479 คัน ลดลง 25.7% ส่วนแบ่งตลาด 31.9%
อันดับที่ 3 มิตซูบิชิ 2,241 คัน ลดลง 28.1% ส่วนแบ่งตลาด 7.5%

สถิติการจำหน่ายรถยนต์ เดือนมกราคม – กรกฎาคม 2563

1.  ตลาดรถยนต์รวม ปริมาณการขาย 387,939 คัน ลดลง 35.9%

อันดับที่ 1 โตโยต้า
111,775 คัน ลดลง 43.3% ส่วนแบ่งตลาด 28.8%
อันดับที่ 2 อีซูซุ 91,531 คัน ลดลง 11.1% ส่วนแบ่งตลาด 23.6%
อันดับที่ 3 ฮอนด้า
47,360 คัน ลดลง 37.5% ส่วนแบ่งตลาด 12.2%

2.  ตลาดรถยนต์นั่ง ปริมาณการขาย 138,216 คัน ลดลง 42.2%

อันดับที่ 1 ฮอนด้า 39,735 คัน ลดลง 30.9% ส่วนแบ่งตลาด 28.7%
อันดับที่ 2 โตโยต้า
34,968 คัน ลดลง 49.5% ส่วนแบ่งตลาด 25.3%
อันดับที่ 3 นิสสัน
14,777 คัน ลดลง 34.8% ส่วนแบ่งตลาด 10.7%

3.  ตลาดรถเพื่อการพาณิชย์ ปริมาณการขาย 249,723 คัน ลดลง 31.7%

อันดับที่ 1 อีซูซุ
91,531 คัน ลดลง 11.1% ส่วนแบ่งตลาด 36.7%
อันดับที่ 2 โตโยต้า
76,807 คัน ลดลง 40.0% ส่วนแบ่งตลาด 30.8%
อันดับที่ 3 มิตซูบิชิ
18,516 คัน ลดลง 36.3% ส่วนแบ่งตลาด 7.4%

4.  ตลาดรถกระบะขนาด 1 ตัน* (Pure Pick up และ รถกระบะดัดแปลง PPV) ปริมาณการขาย 199,116 คัน ลดลง 33.0%

อันดับที่ 1 อีซูซุ
84,890 คัน ลดลง 10.1% ส่วนแบ่งตลาด 42.6%
อันดับที่ 2 โตโยต้า
66,688 คัน ลดลง 41.6% ส่วนแบ่งตลาด 33.5%
อันดับที่ 3 มิตซูบิชิ
18,516 คัน ลดลง 36.3% ส่วนแบ่งตลาด 9.3%

*ปริมาณการขายรถกระบะดัดแปลง (ในตลาดรถกระบะขนาด 1 ตัน) 19,964 คัน
โตโยต้า 7,587 คัน – มิตซูบิชิ 4,677 คัน – อีซูซุ 3,465 คัน – ฟอร์ด 2,523 คัน – นิสสัน 1,067 คัน –เชฟโรเลต 645 คัน

5.  ตลาดรถกระบะ Pure Pick up ปริมาณการขาย 179,152 คัน ลดลง 31.1%

อันดับที่ 1 อีซูซุ
81,425 คัน ลดลง 7.6% ส่วนแบ่งตลาด 45.5%
อันดับที่ 2 โตโยต้า
59,101 คัน ลดลง 39.4% ส่วนแบ่งตลาด 33.0%
อันดับที่ 3 มิตซูบิชิ
13,839 คัน ลดลง 35.1% ส่วนแบ่งตลาด 7.7%
ส่วนถ้าใครอยากขายรถ เพื่อนำเงินไปใช้จ่ายในยุคโควิด-19 ระบาด สามารถขายคันเก่ากับ CARRO Express ได้ เรายินดีรับซื้อรถของคุณ ได้เงินไว เร็ว พร้อมปิดการขายได้ทันที แค่คลิก https://th.carro.co/sell-car/express หรืออยากตีราคารถก่อน สามารถ Inbox สอบถามรายละเอียดได้ที่ Facebook CARRO Thailand

หรือจะ Add Line สอบถามรายละเอียดได้ที่ @Carrothailand หรือคลิกที่นี่ —> เพิ่มเพื่อน

แหล่งที่มาจาก:

Thailand-Monthly-Car-Sales-Volume

สถิติการขายรถยนต์เดือนมิถุนายน สามารถสร้างยอดขาย 58,013 คัน ลดลง 32.6% เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีที่ผ่านมา โดยตลาดรถยนต์นั่งมีอัตราการเติบโตลดลง 41.3% และตลาดรถเพื่อการพาณิชย์มีอัตราการเติบโตลดลง 26.4% เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปีที่ผ่านมา

ในช่วงต้นปีที่ผ่านมา เดิมมีการคาดการณ์ตลาดรวมในประเทศของปี 2563 อยู่ที่ 940,000 คัน และตั้งเป้าหมายการขายรถยนต์โตโยต้าไว้ที่ 310,000 คัน แต่ทว่าในสถานการณ์ไตรมาสที่ 1 ตัวเลขยอดขายตลาดรวมอยู่ที่ประมาณ 200,000 คัน หรือคิดเป็น 76% ของยอดขายในช่วงเวลาเดียวกันของปีที่ผ่านมา

นับตั้งแต่กลางเดือนมีนาคมเป็นต้นมา โควิด-19 ได้แพร่ระบาดอย่างรวดเร็ว ส่งผลให้ความต้องการของตลาดตกหมดอย่างฉับพลัน ทั้งตลาดรถยนต์ในประเทศและตลาดการส่งออก ทำให้แตกต่างออกไปจากแผนที่คาดการณ์ไว้โดยสิ้นเชิง

หลังผ่านสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 และ การหยุดสายการผลิตเป็นการชั่วคราวขอรถหลายค่ายไปแล้วนั้น ตลาดรถยนต์ของไทยในช่วงไตรมาสที่ 2 ลดลงไปที่ประมาณ 128,500 คัน คิดเป็น 49% เมื่อเทียบกับช่วงเวลาเดียวกันของปีที่ผ่านมา

สถิติการขายรถยนต์ ม.ค. – มิ.ย. 2563

ปริมาณการขายรวม
328,604 คัน
ลดลง     37.3%
รถยนต์นั่ง
119,716 คัน
ลดลง     42.0%
รถเพื่อการพาณิชย์
208,888 คัน
ลดลง     34.2%
รถกระบะ 1 ตัน (รวมรถกระบะดัดแปลง)
166,409 คัน
ลดลง     35.6%
รถกระบะ 1 ตัน (ไม่รวมรถกระบะดัดแปลง)
149,432 คัน
ลดลง     33.7%

สถิติการขายรถยนต์ของโตโยต้า ม.ค. – มิ.ย. 2563

ปริมาณการขายโตโยต้า
94,222 คัน
ลดลง 45.1%
ส่วนแบ่งตลาด 28.7%
รถยนต์นั่ง
29,926 คัน
ลดลง 50.4%
ส่วนแบ่งตลาด 25.0%
รถเพื่อการพาณิชย์
64,296 คัน
ลดลง 42.2%
ส่วนแบ่งตลาด 30.8%
รถกระบะ 1 ตัน (รวมรถกระบะดัดแปลง)
56,265 คัน
ลดลง 43.3%
ส่วนแบ่งตลาด 33.8%
รถกระบะ 1 ตัน (ไม่รวมรถกระบะดัดแปลง)
49,622 คัน
ลดลง 41.5%
ส่วนแบ่งตลาด 33.2%

แนวโน้มตลาดรถยนต์ของปี 2563

ในส่วนของภาคธุรกิจยานยนต์ของประเทศไทยนั้น ผลกระทบที่ได้รับยังถือว่าไม่รุนแรงเท่ากับประเทศอื่นๆ ในภูมิภาคอาเซียน และการฟื้นตัวของประเทศไทยดูจะรวดเร็วกว่า ดังนั้น แม้อาจจะยังไม่ควรที่จะประเมินสถานการณ์ให้สูงจนเกินไป แต่แนวโน้มของตลาดรถยนต์ไทยน่าจะไปในทิศทางที่ดี และสถานการณ์จะไม่แย่เท่าที่คาดการณ์ไว้

จึงได้ปรับตัวเลขคาดการณ์ยอดขายรถยนต์ในปี 2563 เป็น 660,000 คัน คิดเป็น 65% เมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมา

ประมาณการยอดขายรถยนต์ในประเทศ ปี 2563

ปริมาณการขายรวม
660,000 คัน
ลดลง     34.5%
รถยนต์นั่ง
225,100 คัน
ลดลง     43.5%
รถเพื่อการพาณิชย์
434,900 คัน
ลดลง     28.6%
รถกระบะ 1 ตัน (รวมรถกระบะดัดแปลง)
346,015 คัน
ลดลง     29.7%
รถกระบะ 1 ตัน (ไม่รวมรถกระบะดัดแปลง)
310,000 คัน
ลดลง     28.2%

ประมาณยอดขายรถยนต์ในประเทศของโตโยต้า ปี 2563

ปริมาณการขายโตโยต้า
220,000 คัน
ลดลง 33.8%
ส่วนแบ่งตลาด 33.3%
รถยนต์นั่ง
62,800 คัน
ลดลง 46.6%
ส่วนแบ่งตลาด 27.9%
รถเพื่อการพาณิชย์
157,200 คัน
ลดลง 26.8%
ส่วนแบ่งตลาด 36.1%
รถกระบะ 1 ตัน (รวมรถกระบะดัดแปลง)
135,600 คัน
ลดลง 29.3%
ส่วนแบ่งตลาด 39.2%
รถกระบะ 1 ตัน (ไม่รวมรถกระบะดัดแปลง)
121,000 คัน
ลดลง 26.9%
ส่วนแบ่งตลาด 39.0%

ปริมาณการจำหน่ายรถยนต์ เดือนมิถุนายน 2563

1.     ตลาดรถยนต์รวม ปริมาณการขาย 58,013 คัน ลดลง 32.6%

อันดับที่ 1 อีซูซุ 16,661 คัน เพิ่มขึ้น 26.1% ส่วนแบ่งตลาด 28.7%
อันดับที่ 2 โตโยต้า 13,366 คัน ลดลง 53.8% ส่วนแบ่งตลาด 23.0%
อันดับที่ 3 ฮอนด้า 5,822 คัน ลดลง 52.1% ส่วนแบ่งตลาด 10.0%

2. ตลาดรถยนต์นั่ง ปริมาณการขาย 20,768 คัน ลดลง 41.3%              

อันดับที่ 1 ฮอนด้า 4,816 คัน ลดลง 47.4% ส่วนแบ่งตลาด 23.2%
อันดับที่ 2 โตโยต้า 4,802 คัน ลดลง 50.7% ส่วนแบ่งตลาด 23.1%
อันดับที่ 3 ซูซูกิ 1,776 คัน ลดลง 13.1% ส่วนแบ่งตลาด 8.6%

3. ตลาดรถเพื่อการพาณิชย์ ปริมาณการขาย 37,245 คัน ลดลง 26.4% 

อันดับที่ 1 อีซูซุ 16,661 คัน เพิ่มขึ้น 26.1% ส่วนแบ่งตลาด 44.7%
อันดับที่ 2 โตโยต้า 8,564 คัน ลดลง 55.4% ส่วนแบ่งตลาด 23.0%
อันดับที่ 3 มิตซูบิชิ 2,562 คัน ลดลง 34.1% ส่วนแบ่งตลาด  6.9%

4. ตลาดรถกระบะขนาด 1 ตัน*  (Pure Pick up และ รถกระบะดัดแปลง PPV) ปริมาณการขาย 29,576 คัน ลดลง 26.7%

อันดับที่ 1 อีซูซุ 15,368 คัน เพิ่มขึ้น 29.7% ส่วนแบ่งตลาด 52.0%
อันดับที่ 2 โตโยต้า 7,375 คัน ลดลง 57.2% ส่วนแบ่งตลาด 24.9%
อันดับที่ 3 มิตซูบิชิ 2,562 คัน ลดลง 34.1% ส่วนแบ่งตลาด 8.7%

*ปริมาณการขายรถกระบะดัดแปลง ในตลาดรถกระบะขนาด 1 ตัน: 2,992 คัน
โตโยต้า 1,262 คัน – มิตซูบิชิ 553 คัน – อีซูซุ 500 คัน – นิสสัน 337 คัน – ฟอร์ด 312 คัน –  เชฟโรเลต 28 คัน 

5. ตลาดรถกระบะ Pure Pick up ปริมาณการขาย 26,584 คัน ลดลง 25%

อันดับที่ 1 อีซูซุ 14,868 คัน เพิ่มขึ้น 33.7% ส่วนแบ่งตลาด 55.9%
อันดับที่ 2 โตโยต้า 6,113 คัน ลดลง 58.8% ส่วนแบ่งตลาด 23.0%
อันดับที่ 3 มิตซูบิชิ 2,009 คัน ลดลง 26.6% ส่วนแบ่งตลาด 7.6%

สถิติการจำหน่ายรถยนต์ เดือนมกราคม – มิถุนายน 2563

1.  ตลาดรถยนต์รวม ปริมาณการขาย 328,604 คัน ลดลง 37.3% 

อันดับที่ 1 โตโยต้า
94,222 คัน ลดลง 45.1% ส่วนแบ่งตลาด 28.7%
อันดับที่ 2 อีซูซุ 76,054 คัน ลดลง 14.7% ส่วนแบ่งตลาด 23.1%
อันดับที่ 3 ฮอนด้า
41,326 คัน ลดลง 36.1% ส่วนแบ่งตลาด 12.6%

2.  ตลาดรถยนต์นั่ง ปริมาณการขาย 119,716 คัน ลดลง 42%          

อันดับที่ 1 ฮอนด้า 34,518 คัน ลดลง 29.4% ส่วนแบ่งตลาด 28.8%
อันดับที่ 2 โตโยต้า
29,926 คัน ลดลง 50.4% ส่วนแบ่งตลาด 25.0%
อันดับที่ 3 นิสสัน
12,641 คัน ลดลง 36.9% ส่วนแบ่งตลาด 10.6%

3.  ตลาดรถเพื่อการพาณิชย์ ปริมาณการขาย 208,888 คัน ลดลง 34.2%  

อันดับที่ 1 อีซูซุ
76,054 คัน ลดลง 14.7% ส่วนแบ่งตลาด 36.4%
อันดับที่ 2 โตโยต้า
64,296 คัน ลดลง 42.2% ส่วนแบ่งตลาด 30.8%
อันดับที่ 3 มิตซูบิชิ
15,416 คัน ลดลง 38.6% ส่วนแบ่งตลาด 7.4%

4.  ตลาดรถกระบะขนาด 1 ตัน* (Pure Pick up และ รถกระบะดัดแปลง PPV) ปริมาณการขาย 166,409 คัน ลดลง 35.6%

อันดับที่ 1 อีซูซุ
70,573 คัน ลดลง 13.9% ส่วนแบ่งตลาด 42.4%
อันดับที่ 2 โตโยต้า
56,265 คัน ลดลง 43.3% ส่วนแบ่งตลาด 33.8%
อันดับที่ 3 มิตซูบิชิ
15,416 คัน ลดลง 38.6% ส่วนแบ่งตลาด 9.3%

*ปริมาณการขายรถกระบะดัดแปลง ในตลาดรถกระบะขนาด 1 ตัน: 16,977 คัน
โตโยต้า 6,643 คัน – มิตซูบิชิ 3,818 คัน – อีซูซุ 2,948 คัน – ฟอร์ด 2,098 คัน – นิสสัน 832 คัน – เชฟโรเลต 638 คัน

5.  ตลาดรถกระบะ Pure Pick up ปริมาณการขาย 149,432 คัน ลดลง 33.7%

อันดับที่ 1 อีซูซุ
67,625 คัน ลดลง 11.5% ส่วนแบ่งตลาด 45.3%
อันดับที่ 2 โตโยต้า
49,622 คัน ลดลง 41.5% ส่วนแบ่งตลาด 33.2%
อันดับที่ 3 มิตซูบิชิ
11,598 คัน ลดลง 36.3% ส่วนแบ่งตลาด 7.8%
ส่วนถ้าใครอยากขายรถ เพื่อนำเงินไปใช้จ่ายในยุคโควิด-19 ระบาด สามารถขายคันเก่ากับ CARRO Express ได้ เรายินดีรับซื้อรถของคุณ ได้เงินไว เร็ว พร้อมปิดการขายได้ทันที แค่คลิก https://th.carro.co/sell-car/express หรืออยากตีราคารถก่อน สามารถ Inbox สอบถามรายละเอียดได้ที่ Facebook CARRO Thailand

หรือจะ Add Line สอบถามรายละเอียดได้ที่ @Carrothailand หรือคลิกที่นี่ —> เพิ่มเพื่อน

แหล่งที่มาจาก:

Thailand-Monthly-Car-Sales-Volume

สถิติการขายรถยนต์เดือนพฤษภาคม สามารถสร้างยอดขาย 40,418 คัน ลดลง 54.1% เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีที่ผ่านมา โดยตลาดรถยนต์นั่งมีอัตราการเติบโตลดลง 65.1% และตลาดรถเพื่อการพาณิชย์มีอัตราการเติบโตลดลง 47.4% เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปีที่ผ่านมา

จะเห็นได้ว่า สถานการณ์การขายของเดือนพฤษภาคม มีแนวโน้มดีขึ้นกว่าเดือนเมษายนที่ผ่านมา สืบเนื่องจากรัฐบาลได้ทยอยประกาศผ่อนปรนมาตรการควบคุมเพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19 ทำให้บางธุรกิจที่ได้รับการผ่อนปรนเริ่มทยอยกลับมาดำเนินงาน ซึ่งส่งผลในเชิงบวกให้กับตลาดรถยนต์

อย่างไรก็ตาม สถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส COVID-19 ยังคงอยู่ในช่วงของการค่อยๆ ฟื้นตัว ทำให้ผู้บริโภคยังระวังเรื่องใช้จ่ายอยู่ รวมถึงภาครัฐฯต้องออกมาตรการดูแลและเยียวยาเพื่อช่วยเหลือประชาชน และผู้ประกอบการที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์นี้ด้วย ซึ่งไม่ได้เป็นแค่ที่ไทยที่เดียว แต่เป็นเหมือนกันทั้งโลก

ส่วนตลาดรถยนต์สะสม 5 เดือน มีปริมาณการขาย 270,591 คัน ลดลง 38.2% เมื่อเทียบกับช่วงเวลาเดียวกันของปีที่ผ่านมา โดยตลาดรถยนต์นั่งมีอัตราการเติบโตลดลง 42.2% ตลาดรถเพื่อการพาณิชย์มีอัตราการเติบโตลดลง 35.6%

ส่วนในเดือนมิถุนายน 2563 จากการที่ภาครัฐฯ ได้ผ่อนคลายให้ธุรกิจสามารถกลับมาดำเนินการได้ในระยะที่ 3 และไม่มีผู้ติดเชื้อโควิด-19 ภายในประเทศ กับได้มีการคลายล็อกระยะที่ 4 มีผลบังคับใช้วันที่ 15 มิถุนายน โดยให้กิจการและกิจกรรมอีกหลายประเภท กลับมาดำเนินธุรกิจได้ภายใต้มาตรการที่ภาครัฐกำหนด เพื่อให้เศรษฐกิจไทยเดินหน้าต่อไปได้ แนวโน้มของตลาดรถยนต์ในเดือนมิถุนายน น่าจะมีทิศทางที่ดีขึ้นต่อเนื่อง

ปริมาณการจำหน่ายรถยนต์ เดือนพฤษภาคม 2563

1.     ตลาดรถยนต์รวม ปริมาณการขาย 40,418 คัน ลดลง 54.1%

อันดับที่ 1 โตโยต้า 13,611 คัน ลดลง 53.7% ส่วนแบ่งตลาด 33.7%
อันดับที่ 2 อีซูซุ
10,130 คัน ลดลง 35.3% ส่วนแบ่งตลาด 25.1%
อันดับที่ 3 ฮอนด้า 4,178 คัน ลดลง 62.8% ส่วนแบ่งตลาด  10.3%

2. ตลาดรถยนต์นั่ง ปริมาณการขาย 11,733  คัน ลดลง 65.1%

อันดับที่ 1 โตโยต้า 3,557 คัน ลดลง 62.9% ส่วนแบ่งตลาด 30.3%
อันดับที่ 2 ฮอนด้า 3,514 คัน ลดลง 59.2% ส่วนแบ่งตลาด 29.9%
อันดับที่ 3 ซูซูกิ 1,218 คัน ลดลง 37.3% ส่วนแบ่งตลาด 10.4%

3. ตลาดรถเพื่อการพาณิชย์ ปริมาณการขาย 28,685 คัน ลดลง 47.4%

อันดับที่ 1 อีซูซุ 10,130 คัน ลดลง 35.3% ส่วนแบ่งตลาด 35.3%
อันดับที่ 2 โตโยต้า 10,054 คัน ลดลง 49.2% ส่วนแบ่งตลาด 35.0%
อันดับที่ 3 ฟอร์ด 1,823 คัน ลดลง 50.9% ส่วนแบ่งตลาด  6.4%

4. ตลาดรถกระบะขนาด 1 ตัน*  (Pure Pick up และ รถกระบะดัดแปลง PPV) ปริมาณการขาย 23,137 คัน ลดลง 47.5%

อันดับที่ 1 อีซูซุ 9,318 คัน ลดลง 34.7% ส่วนแบ่งตลาด 40.3%
อันดับที่ 2 โตโยต้า 9,138 คัน ลดลง 48.2% ส่วนแบ่งตลาด 39.5%
อันดับที่ 3 มิตซูบิชิ 1,823 คัน ลดลง 50.9% ส่วนแบ่งตลาด 7.9%

*ปริมาณการขายรถกระบะดัดแปลง (ในตลาดรถกระบะขนาด 1 ตัน) 2,570 คัน
โตโยต้า 1,308 คัน- มิตซูบิชิ 420 คัน – อีซูซุ 363 – คัน- ฟอร์ด 277 คัน – นิสสัน 181 คัน – เชฟโรเลต 21 คัน

5. ตลาดรถกระบะ Pure Pick up ปริมาณการขาย 20,567 คัน ลดลง 46.8%

อันดับที่ 1 อีซูซุ 8,955 คัน ลดลง 32.5% ส่วนแบ่งตลาด 43.5%
อันดับที่ 2 โตโยต้า 7,830 คัน ลดลง 48.4% ส่วนแบ่งตลาด 38.1%
อันดับที่ 3 มิตซูบิชิ 1,403 คัน ลดลง 48.2% ส่วนแบ่งตลาด 6.8%

สถิติการจำหน่ายรถยนต์ เดือนมกราคม – พฤษภาคม 2563

1.  ตลาดรถยนต์รวม ปริมาณการขาย 270,591 คัน ลดลง 38.2%

อันดับที่ 1 โตโยต้า
80,856 คัน ลดลง 43.3% ส่วนแบ่งตลาด 29.9%
อันดับที่ 2 อีซูซุ 59,393 คัน ลดลง 21.8% ส่วนแบ่งตลาด 21.9%
อันดับที่ 3 ฮอนด้า
35,504 คัน ลดลง 32.4% ส่วนแบ่งตลาด 13.1%

2.  ตลาดรถยนต์นั่ง ปริมาณการขาย 98,948 คัน ลดลง 42.2%

อันดับที่ 1 ฮอนด้า 29,702 คัน ลดลง 25.3% ส่วนแบ่งตลาด 30.0%
อันดับที่ 2 โตโยต้า
25,124 คัน ลดลง 50.4% ส่วนแบ่งตลาด 25.4%
อันดับที่ 3 นิสสัน
10,908 คัน ลดลง 34.5% ส่วนแบ่งตลาด 11.0%

3.  ตลาดรถเพื่อการพาณิชย์ ปริมาณการขาย 171,643 คัน ลดลง 35.6%

อันดับที่ 1 อีซูซุ
59,393 คัน ลดลง 21.8% ส่วนแบ่งตลาด 34.6%
อันดับที่ 2 โตโยต้า
55,732 คัน ลดลง 39.4% ส่วนแบ่งตลาด 32.5%
อันดับที่ 3 มิตซูบิชิ
12,854 คัน ลดลง 39.5% ส่วนแบ่งตลาด 7.5%

4.  ตลาดรถกระบะขนาด 1 ตัน* (Pure Pick up และ รถกระบะดัดแปลง PPV) ปริมาณการขาย 136,833 คัน ลดลง 37.2%

อันดับที่ 1 อีซูซุ
55,205 คัน ลดลง 21.3% ส่วนแบ่งตลาด 40.3%
อันดับที่ 2 โตโยต้า
48,890 คัน ลดลง 40.4% ส่วนแบ่งตลาด 35.7%
อันดับที่ 3 มิตซูบิชิ
12,854 คัน ลดลง 39.5% ส่วนแบ่งตลาด 9.4%

*ปริมาณการขายรถกระบะดัดแปลง (ในตลาดรถกระบะขนาด 1 ตัน) 13,985 คัน
โตโยต้า 5,381 คัน – มิตซูบิชิ 3,265 คัน – อีซูซุ 2,448 คัน – ฟอร์ด 1,786 คัน – นิสสัน 495 คัน –เชฟโรเลต 610 คัน

5.  ตลาดรถกระบะ Pure Pick up ปริมาณการขาย 122,848 คัน ลดลง 35.4%

อันดับที่ 1 อีซูซุ
52,757 คัน ลดลง 19.2% ส่วนแบ่งตลาด 42.9%
อันดับที่ 2 โตโยต้า
43,509 คัน ลดลง 37.8% ส่วนแบ่งตลาด 35.4%
อันดับที่ 3 มิตซูบิชิ
9,589 คัน ลดลง 38.1% ส่วนแบ่งตลาด 7.8%
ส่วนถ้าใครอยากขายรถ เพื่อนำเงินไปใช้จ่ายในยุคโควิด-19 ระบาด สามารถขายคันเก่ากับ CARRO Express ได้ เรายินดีรับซื้อรถของคุณ ได้เงินไว เร็ว พร้อมปิดการขายได้ทันที แค่คลิก https://th.carro.co/sell-car/express หรืออยากตีราคารถก่อน สามารถ Inbox สอบถามรายละเอียดได้ที่ Facebook CARRO Thailand

หรือจะ Add Line สอบถามรายละเอียดได้ที่ @Carrothailand หรือคลิกที่นี่ —> เพิ่มเพื่อน

แหล่งที่มาจาก:

Thailand-Monthly-Car-Sales-Volume

สถิติการขายรถยนต์เดือนเมษายนมีปริมาณการขาย 30,109 คัน ลดลง 65% เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีที่ผ่านมา โดยตลาดรถยนต์นั่งมีอัตราการเติบโตลดลง 74.7% และตลาดรถเพื่อการพาณิชย์มีอัตราการเติบโตลดลง 58.4% เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปีที่ผ่านมา

ซึ่งเป็นผลจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19 ที่ภาครัฐฯ ออกมาตรการป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาด ตั้งแต่การทำงานจากที่บ้าน (Work From Home) และผู้บริโภคหยุดพิจารณาซื้อรถใหม่ เศรษฐกิจของประเทศที่แย่อยู่แล้ว ทำให้ส่งผลกระทบต่ออุตสาหกรรมยานยนต์เป็นวงกว้าง ส่งผลต่อเศรษฐกิจของประเทศไทย และในทั่วโลก

ส่วนตลาดรถยนต์สะสม 4 เดือน มีปริมาณการขาย 230,173 คัน ลดลง 34.2% เมื่อเทียบกับช่วงเวลาเดียวกันของปีที่ผ่านมา โดยตลาดรถยนต์นั่งมีอัตราการเติบโตลดลง 36.6% ตลาดรถเพื่อการพาณิชย์มีอัตราการเติบโตลดลง 32.6%

ในเดือนพฤษภาคม ภาครัฐฯ ได้เริ่มผ่อนปรนมาตรการปิดเมือง ปรับเวลาเคอร์ฟิว แต่ก็เริ่มให้เกิดกิจการหลายอย่าง เพื่อช่วยขับเคลื่อนทางเศรษฐกิจ และหลายค่ายรถยนต์ได้กลับมาเปิดสายการผลิตอีกครั้ง ทำให้แนวโน้มตลาดรถยนต์ในเดือนพฤษภาคมมีทิศทางดีขึ้น

ปริมาณการจำหน่ายรถยนต์ เดือนเมษายน 2563

1.     ตลาดรถยนต์รวม ปริมาณการขาย 30,109 คัน ลดลง 65%

อันดับที่ 1 โตโยต้า 11,084 คัน ลดลง 58.9% ส่วนแบ่งตลาด 36.8%
อันดับที่ 2 อีซูซุ
6,865 คัน ลดลง 55.4% ส่วนแบ่งตลาด 22.8%
อันดับที่ 3 ฮอนด้า 2,648 คัน ลดลง 76.6% ส่วนแบ่งตลาด  8.8%

2. ตลาดรถยนต์นั่ง ปริมาณการขาย 8,830 คัน ลดลง 74.7%

อันดับที่ 1 โตโยต้า 2,906 คัน ลดลง 71.2% ส่วนแบ่งตลาด 32.9%
อันดับที่ 2 ฮอนด้า 2,229 คัน ลดลง 74.1% ส่วนแบ่งตลาด 25.2%
อันดับที่ 3 นิสสัน 1,072 คัน ลดลง 56.9% ส่วนแบ่งตลาด 12.1%

3. ตลาดรถเพื่อการพาณิชย์ ปริมาณการขาย 21,279 คัน ลดลง 58.4%

อันดับที่ 1 โตโยต้า 8,178 คัน ลดลง 51.5% ส่วนแบ่งตลาด 38.4%
อันดับที่ 2 อีซูซุ 6,865 คัน ลดลง 55.4% ส่วนแบ่งตลาด 32.3%
อันดับที่ 3 ฟอร์ด 1,205 คัน ลดลง 73.1% ส่วนแบ่งตลาด  5.7%

4. ตลาดรถกระบะขนาด 1 ตัน*  (Pure Pick up และ รถกระบะดัดแปลง PPV) ปริมาณการขาย 16,733 คัน ลดลง 59.4%

อันดับที่ 1 โตโยต้า 7,019 คัน ลดลง 53.1% ส่วนแบ่งตลาด 41.9%
อันดับที่ 2 อีซูซุ 6,267 คัน ลดลง 56.0% ส่วนแบ่งตลาด 37.5%
อันดับที่ 3 ฟอร์ด 1,205 คัน ลดลง 73.1% ส่วนแบ่งตลาด 7.2%

*ปริมาณการขายรถกระบะดัดแปลง (ในตลาดรถกระบะขนาด 1 ตัน) 1,575 คัน
โตโยต้า 753 คัน –  อีซูซุ 322 คัน – มิตซูบิชิ 219 คัน – ฟอร์ด 211 คัน – เชฟโรเลต 45 คัน – นิสสัน 25 คัน

5. ตลาดรถกระบะ Pure Pick up ปริมาณการขาย 15,158 คัน ลดลง 58.2%

อันดับที่ 1 โตโยต้า 6,266 คัน ลดลง 52.2% ส่วนแบ่งตลาด 41.3%
อันดับที่ 2 อีซูซุ 5,945 คัน ลดลง 55.0% ส่วนแบ่งตลาด 39.2%
อันดับที่ 3 ฟอร์ด 994 คัน ลดลง 73.7% ส่วนแบ่งตลาด  6.6%

สถิติการจำหน่ายรถยนต์ เดือนมกราคม – เมษายน 2563

1.  ตลาดรถยนต์รวม ปริมาณการขาย 230,173 คัน ลดลง 34.2%

อันดับที่ 1 โตโยต้า
67,245 คัน ลดลง 40.6% ส่วนแบ่งตลาด 29.2%
อันดับที่ 2 อีซูซุ 49,263 คัน ลดลง 18.3% ส่วนแบ่งตลาด 21.4%
อันดับที่ 3 ฮอนด้า
31,326 คัน ลดลง 24.2% ส่วนแบ่งตลาด 13.6%

2.  ตลาดรถยนต์นั่ง ปริมาณการขาย 87,215 คัน ลดลง 36.6%

อันดับที่ 1 ฮอนด้า 26,188 คัน ลดลง 15.9% ส่วนแบ่งตลาด 30.0%
อันดับที่ 2 โตโยต้า
21,567 คัน ลดลง 47.4% ส่วนแบ่งตลาด 24.7%
อันดับที่ 3 นิสสัน
9,763 คัน ลดลง 27.3% ส่วนแบ่งตลาด 11.2%

3.  ตลาดรถเพื่อการพาณิชย์ ปริมาณการขาย 142,958 คัน ลดลง 32.6%

อันดับที่ 1 อีซูซุ
49,263 คัน ลดลง 18.3% ส่วนแบ่งตลาด 34.5%
อันดับที่ 2 โตโยต้า
45,678 คัน ลดลง 36.7% ส่วนแบ่งตลาด 32.0%
อันดับที่ 3 มิตซูบิชิ
11,031 คัน ลดลง 37.0% ส่วนแบ่งตลาด 7.7%

4.  ตลาดรถกระบะขนาด 1 ตัน* (Pure Pick up และ รถกระบะดัดแปลง PPV) ปริมาณการขาย 113,696 คัน ลดลง 34.6%

อันดับที่ 1 อีซูซุ
45,887 คัน ลดลง 17.8% ส่วนแบ่งตลาด 40.4%
อันดับที่ 2 โตโยต้า
39,752 คัน ลดลง 38.2% ส่วนแบ่งตลาด 35.0%
อันดับที่ 3 มิตซูบิชิ
11,031 คัน ลดลง 37.0% ส่วนแบ่งตลาด 9.7%

*ปริมาณการขายรถกระบะดัดแปลง (ในตลาดรถกระบะขนาด 1 ตัน) 11,415 คัน
โตโยต้า 4,073 คัน – มิตซูบิชิ 2,845 คัน – อีซูซุ 2,085 คัน – ฟอร์ด 1,509 คัน – เชฟโรเลต 589 คัน –นิสสัน 314 คัน

5.  ตลาดรถกระบะ Pure Pick up ปริมาณการขาย 102,281 คัน ลดลง 32.4%

อันดับที่ 1 อีซูซุ
43,802 คัน ลดลง 15.9% ส่วนแบ่งตลาด 42.8%
อันดับที่ 2 โตโยต้า
35,679 คัน ลดลง 34.9% ส่วนแบ่งตลาด 34.9%
อันดับที่ 3 มิตซูบิชิ
8,186 คัน ลดลง 35.9% ส่วนแบ่งตลาด 8.0%
ส่วนถ้าใครอยากขายรถ เพื่อนำเงินไปใช้จ่ายในยุคโควิด-19 ระบาด สามารถขายคันเก่ากับ CARRO Express ได้ เรายินดีรับซื้อรถของคุณ ได้เงินไว เร็ว พร้อมปิดการขายได้ทันที แค่คลิก https://th.carro.co/sell-car/express หรืออยากตีราคารถก่อน สามารถ Inbox สอบถามรายละเอียดได้ที่ Facebook CARRO Thailand

หรือจะ Add Line สอบถามรายละเอียดได้ที่ @Carrothailand หรือคลิกที่นี่ —> เพิ่มเพื่อน

แหล่งที่มาจาก: